สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
8 ข้อ ป้องกันตนเองจากสถานการณ์ไวรัสโคโรนาระบาดในปัจจุบัน
ทำไมต้องทาน ศีล ภาวนา
การให้ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนา เป็นข้อปฎิบัติในชีวิตประจำวันของชาวพุทธ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมอบไว้ให้
ศีล 5 กับกลอนสุนทรภู่
สุนทรภู่แต่งกลอนไว้มากมาย ในผลงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พระอภัยมณี นิราศภูเขาทอง ภายในบทกลอนนั้นมีกลิ่นอายของสังคมในยุคนั้นที่ผสมผสานวัฒนธรรมและศาสนา วันนี้เรามาพิจารณา ศีล 5 ที่ปรากฏในบทกลอนกัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ Five Precept ศีล 5
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่อง Five Precept = ศีล 5 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟังจะมีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ได้พรจากหลวงปู่ 3 ข้อ
คุณวรวรรณ ถนอมพงษ์ เล่าประสบการณ์ที่เธอได้พรจากหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3 ข้อ จนผ่านพ้นช่วงตกต่ำที่สุดในชีวิตมาได้
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ 8 Precepts ศีล 8
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่องของ 8 Precepts = ศีล 8 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟัง จะมีวิธีการอธิบายอย่างไร เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น